กลับไปหน้า เกร็ดน่ารู้

ริชส์ วิป ทอปปิ้ง เบส ที่วีแกนทานได้คนแพ้นมวัวทานดี ไม่มีส่วนผสมของนม 100% 

โดยส่วนใหญ่แล้ววิปปิ้งครีมมักมีส่วนผสมจากนมวัว ไม่เหมาะกับการนำมาทำเมนูอาหารให้ลูกค้าที่มีความต้องการที่ต่างออกไปอย่างลูกค้ากลุ่มวีแกน ลูกค้าที่แพ้นมวัว จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่จะเจอวิปปิ้งครีมทำขนมที่ตอบโจทย์ลูกค้าอย่างครอบคลุมทุกความต้องการ วันนี้แอดมาเสนอ วิปครีมสูตรเจ เป็นทางเลือกสำหรับใช้งานให้กับผู้ประกอบการกัน 

ริชส์ วิป ทอปปิ้ง เบส เป็นวิปปิ้งครีมนอนแดรี่ สูตรวีแกน เหมาะสำหรับใช้งานในช่วงเทศกาลเจ และใช้งานทั่วไป ตอบโจทย์ผู้ที่ทำอาหารสำหรับคนแพ้นมวัว หรือเป็นวีแกน ได้เป็นอย่างดี รังสรรค์เมนูได้หลากหลาย เช่น เค้กฟักทอง เค้กแครอท เต้าฮวยเจ มูสเค้กผลไม้ 

ความโดดเด่นของริชส์ วิป ทอปปิ้ง เบส

– เป็นวิปปิ้งครีมนอนแดรี่ ไม่มีส่วนผสมของนมวัว 100%
– วิปปิ้งครีมสูตรเข้มข้นผสมน้ำ นมสด น้ำผลไม้ หรือของเหลวอื่น
– มีรสชาติหวาน ได้กลิ่นวานิลลาเล็กน้อย
– ทนกรดผลไม้ได้ -เหมาะสำหรับการจัดเลี้ยงหรือบุฟเฟ่ต์ หรือการผลิตครั้งละมากๆ เค้กที่แต่งแล้วสามารถแช่แข็งได้ เพราะมีความอยู่ตัวสูง
– ใช้กับกระบอกอัดแก๊สได้ (ผสมกับของเหลวในปริมาณครีมและของเหลว 2:1 ก่อนใช้งาน)

ข้อแนะนำในการใช้งาน

– ไม่แนะนำให้ใช้เดี่ยวๆ เพราะเป็นวิปปิ้งครีมสูตรเข้มข้น ควรนำไปส่วนผสมกับของเหลวก่อนใช้งาน
– สัดส่วนที่แนะนำสำหรับใช้งาน คือ วิปปิ้งครีม 2 ส่วน : ของเหลว 1 ส่วน เช่น วิปปิ้งครีม 200 กรัม น้ำส้ม 100 กรัม

เมนูแนะนำสำหรับริชส์ วิป ทอปปิ้ง เบส 

1. เค้กแครอทเจ

2. เค้กธัญพืชเจ

3. เปี๊ยะส้ม

วิปครีมเจ

4. ขนมบัวหิมะ สูตรเจ

วิปครีมเจ

  • ช่องทางจัดจำหน่าย  

ผลิตภัณฑ์ ริชส์ วิป ทอปปิ้ง เบส มีจำหน่ายตามร้านขายอุปกรณ์เบเกอรี่ทั่วประเทศ หรือสามารถอินบอคมาสอบถามร้านค้าใกล้บ้านได้เลยครับ   

หรือสั่งซื้อผ่านช่องทางออนไลน์ :  

– Lazada >> https://bit.ly/shop-Lazada   

– Line Shopping >> https://bit.ly/37I0sN5   

– Shopee >> https://shope.ee/3KyMvoERlY 

ดาวน์โหลดบทความ
ภาพรวมความเป็นส่วนตัวและสิทธิ์ของคุณ

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆเช่นจดจำคุณได้เมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเราและช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณคิดว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด

สิทธิที่จะได้รับแจ้ง
สิทธิในการได้รับแจ้ง [มาตรา 23] เป็นสิทธิสำหรับพลเมืองไทยที่จะได้รับแจ้งเกี่ยวกับการรวบรวมและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาในขณะที่ทำการรวบรวม องค์กรที่รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลแก่บุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังติดตามวัตถุประสงค์ของการติดตามและบุคคลที่จะแบ่งปันข้อมูลด้วย

สิทธิ์ในการเข้าถึง
สิทธิ์ในการเข้าถึง [มาตรา 30] หรือที่เรียกว่าการเข้าถึงหัวเรื่องทำให้แต่ละบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับสำเนาข้อมูลที่องค์กรเก็บไว้ เมื่อองค์กรได้รับคำขอเรื่องจะต้องให้ข้อมูลเจ้าของข้อมูลเช่นวัตถุประสงค์ของการประมวลผลและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวม

สิทธิในการแก้ไข
ตามมาตรา 35 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิ์ที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลของตนรวมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดและการอัปเดตข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์

สิทธิ์ในการลบ
ภายใต้มาตรา 33 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลของตน อนุญาตให้ใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือหากผู้ควบคุมข้อมูลไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของการรวบรวมหรือใช้งานอีกต่อไป

สิทธิ์ในการ จำกัด การประมวลผล
มาตรา 34 ของ PDPA ให้สิทธิบุคคลในการ จำกัด การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตน หากผู้บริโภคใช้สิทธิ์นี้ธุรกิจสามารถจัดเก็บข้อมูลต่อไปได้ แต่ต้องไม่ใช้หรือประมวลผลข้อมูลนั้น

สิทธิ์ในการพกพาข้อมูล
สิทธิ์ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำให้บุคคลมีสิทธิ์ในการรับและถ่ายโอนข้อมูลไปยังตัวควบคุมหรือบริการอื่น

สิทธิ์ในวัตถุ
มาตรา 32 ของ PDPA ให้สิทธิ์แก่แต่ละบุคคลในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ของคุณและมีตัวเลือกให้ใช้ได้เสมอ