กลับไปหน้า เกร็ดน่ารู้

แจกสูตรการ คำนวณต้นทุน ง่ายๆ สำหรับผู้ประกอบการ

การคิดต้นทุนเป็นสิ่งสำคัญมากในการทำธุรกิจทุกชนิด ผู้ประกอบการควรนำราคาต้นทุนของวัตถุดิบ มาคำนวณรวมกับค่าใช้จ่ายอื่นๆ ของทางร้าน ก่อนที่จะตั้งราคาขายขนมแต่ละอย่าง เพื่อให้คุ้มค่ากับเงินและแรงที่ใช้ในการทำขนมแต่ละสูตร

วันนี้แอดมินริชส์มาพร้อมกับ วิธี คำนวณต้นทุน ฉบับเข้าใจง่ายมาฝากผู้ประกอบการ เจ้าของร้าน เพื่อให้ทุกท่านสามารถคำนวณราคาขายที่เหมาะสมกับการขายสินค้า หวังว่าจะเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการเบเกอรี่ทุกท่านที่เข้ามาอ่าน นอกจากสูตรในบทความนี้แล้ว อาจหาสูตรการคำนวณจากหลายที่มาใช้ประกอบเพื่อปรับให้เหมาะสมกับร้านของตัวเองได้

แจกสูตรคำนวณสำหรับผู้ประกอบการ

การมีสูตรทำให้การทำงานของเราเป็นระบบมากขึ้น รู้ถึงต้นทุนของสินค้าเพื่อทำบัญชีรายรับ รายจ่าย ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

1. วิธีคำนวณราคาต้นทุนรวมทั้งหมด

2. วิธีคำนวณต้นทุนจริงของวัตถุดิบต่อชิ้น

การหาราคาต้นทุนของเมนูใดเมนูหนึ่ง เริ่มต้นที่เอาราคาวัตถุดิบทั้งหมดที่เราใช้ในการทำเมนูนี้ (อย่าลืมรวมค่าแรง) มาหารกับจำนวนเมนูเค้กหรือเบเกอรี่ที่ทำออกมาว่าสามารถแบ่งได้กี่ชิ้น

3. วิธีคำนวณราคาขายต่อชิ้น

หลังจากที่เราได้ราคาต้นทุนมาแล้ว ให้ทางร้านคิดว่าอยากได้จำนวนกำไรเป็นกี่เปอร์เซ็นจากราคาต้นทุน จากนั้นให้นำเปอร์เซ็นของกำไรที่ได้ไปคูณกับต้นทุนรวมต่อชิ้น หาร หนึ่งร้อย แล้วเอาจำนวนที่ได้มาบวกกับต้นทุนรวม ตามสมการด้านล่าง

วิธีคำนวณต้นทุนวัตถุดิบด้วยตัวเอง

 

หมายเหตุ : ราคาข้างต้น เป็นราคาอ้างอิงจากราคากลาง หากซื้อวัตถุดิบได้ในราคาที่ต่ำกว่า คุณลูกค้าก็จะมีต้นทุนที่ถูกลง

 

 

ผลิตภัณฑ์วิปปิ้งครีมและครีมเมอร์จากริช โปรดักส์

ช่องทางติดตาม ริช โปรดักส์  ติดตามความเคลื่อนไหว โปรโมชั่น ข้อมูลสินค้า และสูตรเบเกอรี่ จากเชฟผู้เชี่ยวชาญของริช โปรดักส์> https://linktr.ee/richproductsthailand

ช่องทางจำหน่ายสินค้า

 

 

 

ดาวน์โหลดบทความ
ภาพรวมความเป็นส่วนตัวและสิทธิ์ของคุณ

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆเช่นจดจำคุณได้เมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเราและช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณคิดว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด

สิทธิที่จะได้รับแจ้ง
สิทธิในการได้รับแจ้ง [มาตรา 23] เป็นสิทธิสำหรับพลเมืองไทยที่จะได้รับแจ้งเกี่ยวกับการรวบรวมและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาในขณะที่ทำการรวบรวม องค์กรที่รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลแก่บุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังติดตามวัตถุประสงค์ของการติดตามและบุคคลที่จะแบ่งปันข้อมูลด้วย

สิทธิ์ในการเข้าถึง
สิทธิ์ในการเข้าถึง [มาตรา 30] หรือที่เรียกว่าการเข้าถึงหัวเรื่องทำให้แต่ละบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับสำเนาข้อมูลที่องค์กรเก็บไว้ เมื่อองค์กรได้รับคำขอเรื่องจะต้องให้ข้อมูลเจ้าของข้อมูลเช่นวัตถุประสงค์ของการประมวลผลและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวม

สิทธิในการแก้ไข
ตามมาตรา 35 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิ์ที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลของตนรวมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดและการอัปเดตข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์

สิทธิ์ในการลบ
ภายใต้มาตรา 33 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลของตน อนุญาตให้ใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือหากผู้ควบคุมข้อมูลไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของการรวบรวมหรือใช้งานอีกต่อไป

สิทธิ์ในการ จำกัด การประมวลผล
มาตรา 34 ของ PDPA ให้สิทธิบุคคลในการ จำกัด การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตน หากผู้บริโภคใช้สิทธิ์นี้ธุรกิจสามารถจัดเก็บข้อมูลต่อไปได้ แต่ต้องไม่ใช้หรือประมวลผลข้อมูลนั้น

สิทธิ์ในการพกพาข้อมูล
สิทธิ์ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำให้บุคคลมีสิทธิ์ในการรับและถ่ายโอนข้อมูลไปยังตัวควบคุมหรือบริการอื่น

สิทธิ์ในวัตถุ
มาตรา 32 ของ PDPA ให้สิทธิ์แก่แต่ละบุคคลในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ของคุณและมีตัวเลือกให้ใช้ได้เสมอ